วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียน ครั้งที่ 6 (12/12/56)
วันนี้อาจารย์ได้อธิบายเรื่อง
พัฒนาการ
- การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆรวมทั้งตัวบุคคล
- ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
- เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
- พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง หลายด้านหรือทุกด้าน
- พัฒนาการล่าช้าในด้านหนึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้าด้วยก็ได้
- ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
- ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
- ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
- ปัจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด
- โรคทางพันธุกรรม
- โรคของระบบประสาท
- ติดเชื้อ
- ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม
- ภาวะแทรกซ้อนระยะเเรกเกิด
- สารเคมี ได้แก่ ตะกั่ว/แอลกอฮอล์/Fetal alcohol syndrome (FAS)/นิโคติน
- การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร
- มีพัฒนาการล่าช้า ซึ่งอาจจะพบมากกว่า 1 ด้าน
- ปฏิกิริยาสะท้อน (primtive reflex) ไม่หายไปแม้จะถึงช่วงอายุที่ควรจะหายไป
- การซักประวัติ
- ตรวจร่างกาย
- การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
- ประเมินพัฒนาการ
วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียน ครั้งที่ 4 (28/11/56)
วันนี้อาจารย์ได้อธิบายความหมายของเด็กพิเศษ ต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว
ประเภทที่ 6 เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
ประเภทที่ 6 เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
- เด็กที่ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
- เด็กที่ควบคุมพฤติกรรมบางอย่างของตนเองไม่ได้
- ทำให้ไม่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเรียบร้อย
- เด็กที่ได้รับความกระทบกระเทือนทางอารมณ์
- เด็กที่ปรับตัวเข้ากับสังคมไม่ได้
- เด็กสมาธิสั้น ( เรียกย่อยๆว่า ADHD )
- เด็กออทิสติก หรือ ออทิสซึม
- เรียกย่อๆว่า L.D.
- เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เฉพาะอย่าง
- เด็กที่มีปัญหาทางการใช้ภาษา หรือการพูด การเขียน
- ไม่นับรวมเด็กที่มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียน เด็กที่มีปัญหาเนื่องจากความพิการหรือความบกพร่องทางร่างกาย
- มีปัญหาในทักษะคณิตศาสตร์
- ปฏิบัติตามคำสั่งไม่ได้
- เล่าเรื่อง / ลำดับเหตุการณ์ไม่ได้
- มีปัญหาทางด้านการอ่าน เขียน
- หรือ ออทิซึม
- เด็กที่มีความบกพร่องอย่างรุนแรงในการสื่อความหมายพฤติกรรม สังคม และความสามารถทางสติปัญญาในการรับรู้
- เด็กออทิสติกแต่ละคนจะมีเอกลักษณ์ของตนเอง
- ติดตัวเด็กไปตลอดชีวิต
- อยู่ในโลกของตนเอง
- ไม่เข้าไปหาใครเพื่อปลอบใจ
- ไม่เข้าไปเล่นในกลุ่มเพื่อน
- ไม่ยอมพูด
- เคลื่อนไหวแบบช้าๆ
- ยึดติดวัตถุ
- ต่อต้าน หรือแสดงกิริยาอารมณ์รุนแรง และไร้เหตุผล
- มีที่ทำเหมือนหูหนวก
- ใช้วิธีการสัมผัส และเรียนรู้สิ่งต่างๆ ด้วยวิธีการที่ต่างไปจากคนทั่วไป
- เด็กที่มีความบกพร่องที่มากกว่าหนึ่งอย่าง เป็นเหตุให้เกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก
- เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
- เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด
- เด็กที่ทั้งหูหนวกและตาบอด

วันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียน ครั้งที่ 3 (21/11/56)
วันนี้อาจารย์ได้อธิบาย ความหมายของเด็กพิเศษ ต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว
ประเภทที่ 4 เด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
ประเภทที่ 5 เด็กบกพร่องทางการพูดและภาษา
เด็กจะพูดไม่ชัด ออกเสียงผิดเพี้ยน อวัยวะที่ใช้ในการพูดไม่สามารถเป็นไปตามลำดับขั้น
ประเภทที่ 4 เด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
- เด็กที่มีอวัยวะที่สมส่วน
- อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหายไป
- มีปํญหาทางระบบประสาท
- มีความลำบาก
ประเภทที่ 5 เด็กบกพร่องทางการพูดและภาษา
เด็กจะพูดไม่ชัด ออกเสียงผิดเพี้ยน อวัยวะที่ใช้ในการพูดไม่สามารถเป็นไปตามลำดับขั้น
- ความผิดปกติด้านการออกเสียง ออกเสียงผิดเพี้ยงไปจากมาตรฐานของภาษาเดิม
- ความผิดปกติด้านจังหวะเวลาของการพูด เช่น การพูดรัว การพูดติดอ่าง
- ความผิดปกติด้านเสียง ระดับเสียง ความดัง คุณภาพของเสียง
- ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิที่สมอง
บันทึกการเรียน ครั้งที่ 2 (14/11/56)
วันนี้อาจารย์ได้สรุปคะแนนทั้งหมด ดังนี้
ต่อจากนั้น อาจารย์ได้อธิบาย ความหมายของเด็กพิเศษ
2. ทางการศึกษา
หมายถึง เป็นเด็กที่ต้องได้รับการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา กลักสูตร กระบวนการที่ใช้และกระประเมินผล
สรุป
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
กระทรวงศึกษาธิการ ได้เเบ่งออกเป็น 9 ประเภท เพื่อความสะดวกในการคัดเลือกโรงเรียน
หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปํญญาหรือเชาว์ปํญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ 1. เด็กเรียนช้า 2. เด็กปัญญาอ่อน
ประเภทที่ 2 เด็กบกพร่องทางการได้ยิน
หมายถึง สูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่างๆ ได้ไม่ชัดเจน มี 2 ประเภท คือ 1. หูตึง 2. หูหนวก
ประเภทที่ 3 เด็กบกพร่องทางการเห็น
- จิตพิสัย 10 คะแนน
- งานเดี่ยว (วิจัย) 10 คะเเนน
- งานกลุ่ม (นำเสนอ) 20 คะแนน
- บันทึกอนุทินลง Blog 20 คะแนน
- โทรทัศน์ครู 10 คะแนน
- สอบกลางภาค 15 คะแนน
- สอบปลายภาค 15 คะแนน
- เด็ก ซี.พี
- เด็กดาวน์ซินโดรม
- เด็กออทิสติก
- เด็กสมาธิสั้น
- เด็กแอลดี
ต่อจากนั้น อาจารย์ได้อธิบาย ความหมายของเด็กพิเศษ
- ทางการเเพทย์ จะเรียกว่า "เด็กพิการ" เพื่อใช้เกี่ยวกับการบำบัดรักษาเด็ก
2. ทางการศึกษา
หมายถึง เป็นเด็กที่ต้องได้รับการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา กลักสูตร กระบวนการที่ใช้และกระประเมินผล
สรุป
- เด็ที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจากการให้การช่วยเหลือ และการสอนตามปกติ
- มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์
- จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ การบำบัด และฟื้นฟู
- จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
- กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
กระทรวงศึกษาธิการ ได้เเบ่งออกเป็น 9 ประเภท เพื่อความสะดวกในการคัดเลือกโรงเรียน
- เด็กบกพร่องทางสติปัญญา
- เด็กบกพร่องทางการได้ยิน
- เด็กบกพร่องทางการเห็น
- เด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
- เด็กบกพร่องทางการพูดและภาษา
- เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
- เด็กที่มีปํญหาทางการเรียนรู้
- เด็กออทิสติก
- เด็กพิการซ้อน
หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปํญญาหรือเชาว์ปํญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ 1. เด็กเรียนช้า 2. เด็กปัญญาอ่อน
ประเภทที่ 2 เด็กบกพร่องทางการได้ยิน
หมายถึง สูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่างๆ ได้ไม่ชัดเจน มี 2 ประเภท คือ 1. หูตึง 2. หูหนวก
ประเภทที่ 3 เด็กบกพร่องทางการเห็น
- เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสง เห็นเลือนลาง
- มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
- สามารถเห็นได้ไมาถึง 1/10 ของคนสายตาปกติ
- มีลานสายตากว้งไม่เกิน 30 องศา
บันทึกการเรียน ครั้งที่ 1 (7/11/56)
วันนี้เป็นวันเริ่มเรียนครั้งแรก ของวิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ อาจารย์จึงให้นักศึกษาทำ Mind Map หัวข้อเรื่องเด็กพิเศษ โดยอาจารย์ให้นักศึกษาได้นำความรู้พื้นฐานที่นักศึกษามีเกี่ยวกับเด็กพิเศษมาสรุปลงใน Mind Map เพื่อทดสอบความรู้ว่านักศึกษาแต่ละคนมีความรู้เกี่ยวกับเด็กพิเศษมากน้อยเพียงใด
จากนั้นอาจารย์ได้สั่งงาน คือ- สะท้อนการเรียนลงบล็อค
- งานกลุ่ม แบ่งกลุ่มละ 10 คน
- งานเดียว งานวิจัย 1 เรื่องซ้ำได้ 2 คน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)